วันอังคารที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2551
รายงานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
รายละเอียดงานที่ได้รับมอบหมายเดือน มิถุนายน
10 มิถุนายน 51 พิมพ์แผนการสอน รายงานการประชุม และสอนคอมพิวเตอร์เด็กนักเรียน
11 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารทั่วไปจัดส่งสำนักงานเขต และรายงานวิจัยชั้นเรียน
12 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารปพ.การย้ายของนักเรียน
13 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารทั่วไป พิมพ์ใบงานนักเรียน
16 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารโครงการต่าง ๆ และแผนการสอน
17 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารเกี่ยวกับการประเมินSmart School
18 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารทั่วไป และสอนคอมพิวเตอร์เด็กนักเรียน
19 มิถุนายน 51 พิมพ์งานเอกสารทั่วไป ทำหนังสือปพ.การย้าย
20 มิถุนายน 51 พิมพ์รายชื่อนักเรียน เอกสารต่าง ๆ
23 มิถุนายน 51 พิมพ์งานจัดเอกสารต่าง ๆ เพื่อเตรียมประเมิน 5 ส และรายงานการประชุม
24 มิถุนายน 51 พิมพ์รายการเงินเดือนส่งธนาคารและเอกสารทั่วไป
25 มิถุนายน 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปส่งสำนักงานเขตและหน่วยราชการต่าง ๆ
26 มิถุนายน 51 พิมพ์งานคำสั่งการอบรมของข้าราชการครูชำนาญการและเอกสารทั่วไป
27 มิถุนายน 51 พิมพ์แผนการสอนและสอนคอมพิวเตอร์เด็กนักเรียน ป.5
30 มิถุนายน 51 ศึกษาดูงานที่โรงเรียนวังไกรกังวล อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์
รายละเอียดงานที่ได้รับมอบหมายเดือน กรกฎาคม
1 กรกฎาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไป และใบงานเด็กนักเรียน
2 กรกฏาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไป
3 กรกฏาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปและงานวิจัยในชั้นเรียน
4 กรกฏาคม 51 สอนคอมพิวเตอร์เด็กนักเรียนชั้น ป.5 และเอกสารทั่วไป
7 กรกฎาคม 51 พิมพ์แผนการสอนและใบงานเด็กนักเรียน
8 กรกฏาคม 51 ออกจดหมายเวียน และเอกสารการอบรมข้าราชการครู
9 กรกฎาคม 51 อบรมงานวิจัยในชั้นเรียน ณ ห้องสมุดโรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส
10 กรกฎาคม 51 พิมพ์งานเอกสารงานวิจัยในชั้นเรียนและใบงานนักเรียน
11 กรกฎาคม 51 สอนคอมพิวเตอร์เด็กนักเรียนชั้น ป.5 และเอกสารส่งเขต
14 กรกฎาคม 51 พิมพ์วาระการประชุมและออกจดหมายถึงผู้ปกครอง
15 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นอนุบาล 1 ด้วยระบบe-Citizen
16 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นอนุบาล 2 ด้วยระบบe-Citizen
17 กรกฏาคม 51 อบรมงานวิจัยในชั้นเรียน ณ ห้องสมุดโรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส
18 กรกฎาคม 51 อบรมงานวิจัยในชั้นเรียน ณ ห้องสมุดโรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส
21 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยระบบe-Citizen
22 กรกฎาคม 51 พานักเรียนช่วงชั้นที่ 1 อนุบาล1 - ประถมศึกษาปีที่ 3 ไปทัศนศึกษา ณ พิพิธภัณฑ์เด็ก (เกียกกาย)
และสวนสัตว์เขาดิน
23 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยระบบe-Citizen
24 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-2 ด้วยระบบe-Citizen
25 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยระบบe-Citizen และคีย์ข้อมูลระบบเงินเดือน
ส่งธนาคารกรุงไทย
28 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 2-3 ด้วยระบบe-Citizen
29 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้วยระบบe-Citizenและงานเอกสารทั่วไป
30 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ด้วยระบบe-Citizenและงานเอกสารทั่วไป
31 กรกฎาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยระบบe-Citizen
1 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5 ด้วยระบบe-Citizen
4 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยระบบe-Citizenและงานเอกสารทั่วไปส่งเขต
5 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยระบบe-Citizenและงานพิมพ์ทั่วไป
6 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยระบบe-Citizenและงานพิมพ์ทั่วไป
7 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยระบบe-Citizenและงานพิมพ์ทั่วไป
8 สิงหาคม 51 พิมพ์ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลที่ตกค้างหลักฐานต่าง ๆ และพิมพ์งานPower Point
11 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารงานวิจัยและพิมพ์ข้อมูลบุคลากรในโรงเรียนด้วยระบบe-Citizen
13 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปส่งสำนักงานเขตและพิมพ์งาน Power Point
14 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปและพิมพ์แผนการสอนจัดทำเสนองาน Power Point
15 สิงหาคม 51 จัดทำประวัตินักเรียนและจัดพิมพ์ข้อมูลนักเรียนที่ตกค้าง(นักเรียนที่เข้าใหม่)
18 สิงหาคม 51 ลงทะเบียนครุภัณฑ์ที่สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
19 สิงหาคม 51 ทำฎีกาโครงการต่าง ๆ ของโรงเรียนและเสนองานผู้อำนวยการเซ็นต์
20 สิงหาคม 51 ทำฎีกาโครงการต่าง ๆ ของโรงเรียนและเสนองานผู้อำนวยการเซ็นต์
21 สิงหาคม 51 พิมพ์ฎีการับ สั่ง ส่งมอบ สั่งจ้าง ต่าง ๆ และเสนอผู้อำนวยการเซ็นต์และทางห้างร้านที่ประมูลรับทำรับ
หรือสั่งจ้าง ว่าจ้างงาน
22 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปและสอนคอมพิวเตอร์นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
25 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปและพิมพ์แผนการสอนออกหนังสือส่งตัวนักเรียนเกิดอุบัติเหตุ คีย์ข้อมูลเงินเดือน
ส่งธนาคารกรุงไทย สาขาพระปะแดง
26 สิงหาคม 51 พิมพ์ใบสลิปเงินเดือนแจกครูในโรงเรียนและเอกสารทั่วไป
27 สิงหาคม 51 เขียนแผนการสอนและจัดเตรียมพิมพ์แผนการสอนส่งผู้อำนวยการ
28 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปส่งสำนักงานเขตและสอนคอมพิวเตอร์นักเรียน
29 สิงหาคม 51 พิมพ์เอกสารทั่วไปส่งสำนักงานเขตและแผนการสอน
วันอังคารที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551
การประชาสัมพันธ์หลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
1. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
1.1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคปกติ 4 ปี => http://www.itbsru.com/pdf/comfull.pdf
1.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 ปี หลังอนุปริญญา => http://www.itbsru.com/pdf/com.pdf
1.1 โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี 4ปี
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Bachelor's Degree Program of Business Administration in Business Computerชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)
ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารธุรกิจระดับ วิชาชีพ (Professional) และนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบัญชี การเงินและการธนาคาร การตลาด การบริหารอุตสาหกรรม เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการคุณภาพธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจบริการ สามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี และทักษะเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไป
โครงสร้างหลักสูตร
มีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต
1500101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 หน่วยกิต
1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0)
2000102 สุรทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500102 วิถีไทย 3(3-0)
2500103 วิถีโลก 3(3-0)
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต
4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0)
4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0)
4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 106 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 84 หน่วยกิต
บังคับเรียน 47 หน่วยกิต
1541203 ภาษาไทยธุรกิจ 3(3-0)
1551605 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0)
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
2562302 กฎหมายธุรกิจ 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3521101 การบัญชี 1 3(2-2)
3521102 การบัญชี 2 3(2-2)
3531101 การเงินธุรกิจ 3(3-0)
3541101 หลักการตลาด 3(3-0)
3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 2(2-0)
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3(3-0)
3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
4112105 สถิติธุรกิจ 3(3-0)(2)
(2)แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 37 หน่วยกิต
2.1 บังคับเรียน 18 หน่วยกิต
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
2.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต [เรียน 7 วิชา]
3501201 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 1 3(2-2)
3501202 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 2 3(2-2)
3502201 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน 3(2-2)
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504203 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2)
3504204 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 3(2-2)
3534106 โปรแกรมประยุกต์ทางการเงิน 3(3-0)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3564908 สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
34121401 ระบบปฎิบัติการ 1 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122304 โปรแกรมภาษาซี 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123303 โปรแกรมภาษาปาสคาล 2 3(2-2)
4123304 โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123617 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
(3) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 15 หน่วยกิต
3532202 การภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3561101 องค์การและการจัดการ 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต
3503813 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 2(90)
3504804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 5(350)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 10 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชา
โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Bachelor of Business Administration Program in Business Computerชื่อ ปริญญา
ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม
โครงสร้างหลักสูตร
มีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไปนี้
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค
1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค
13521101 การบัญชี 1
3521102 การบัญชี
24112105 สถิติธุรกิจ
3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 9 หน่วยกิต
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน
(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศของโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศมีทั้งหมด 6 ห้อง โดยมีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยเสมอ และ มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทั้งกับผู้เรียนและผู้สอนอย่างครบครัน และทุกห้องสามารถเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อการสืบค้นข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก
ที่มา : 1. www.bsru.ac.th/bsru_thai/picture/head.jpg
วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2551
การทำจดหมายเวียน
- เพิ่มหรือกำหนดเขตข้อมูลผสาน (เขตข้อมูลผสาน: ตัวยึดตำแหน่งที่คุณแทรกลงในเอกสารหลัก ตัวอย่างเช่น การแทรกเขตข้อมูลผสาน ??City?? เพื่อให้ Word ทำการแทรกชื่อเมือง เช่น "Paris," ที่จะถูกเก็บในเขตข้อมูลข้อมูล 'เมือง')ในเอกสารหลัก
2 เอกสารหลักพร้อมเขตข้อมูลผสานที่ใช้งานแบบเป็นตัวยึดสำหรับข้อมูลผู้รับ
3 ได้ผลลัพธ์เป็นเอกสารที่ผสานกัน
บานหน้าต่างงานจะแนะนำคุณผ่านขั้นตอนทั้งหมดเหล่านั้น ถ้าคุณชอบทำงานอยู่นอกบานหน้าต่างงาน คุณสามารถใช้แถบเครื่องมือ (แถบเครื่องมือ: แถบที่มีปุ่มและตัวเลือกต่างๆ ที่คุณสามารถใช้เพื่อกระทำคำสั่ง เมื่อต้องการแสดงแถบเครื่องมือ ให้กด ALT และกด SHIFT+F10) จดหมายเวียน ทั้งสองวิธีจะได้ผลลัพธ์ว่าแต่ละแถว (หรือระเบียน) ในแหล่งข้อมูลจะเป็นรายการฟอร์มจดหมายแต่ละฟอร์ม ป้ายผนึกจดหมาย ซองจดหมาย หรือไดเรกทอรี
หมายเหตุ คุณสามารถใช้จดหมายเวียนเพื่อสร้างเอกสารประเภทใดก็ตามที่แมปเขตข้อมูล (เขตข้อมูล: ชุดของโค้ดที่สั่งให้ Microsoft Word แทรกข้อความ กราฟิก หมายเลขหน้า และวัสดุอื่นๆ ลงในเอกสารให้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น เขตข้อมูลวันที่จะแทรกวันที่ปัจจุบัน)ไปที่ข้อมูล ไม่เพียงแต่จดหมายหรือไดเรกทอรี ตัวอย่างเช่น ถ้าชุดของวิดีโอเทปของคุณถูกแสดงรายการในกระดาษคำนวณ คุณสามารถใช้ตัวเลือก ป้ายผนึก เพื่อสร้างป้ายชื่อของวิดีโอเทปได้
Microsoft Office Word 2003
Microsoft Word 2002
การแนะนำเข้าสู่ชุดบทความที่อธิบายถึงขั้นตอนพื้นฐานในกระบวนการของจดหมายเวียน การใช้ฟอร์มจดหมาย เป็นต้น คุณสามารถดูภาพรวมของกระบวนการได้จากส่วนนี้ โดยมีบทความต่อไปนี้:
เลือกประเภทของเอกสารที่คุณต้องการผสานข้อมูลลงไป
บานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน จะเปิดออกพร้อมกับคำถามเกี่ยวกับประเภทของเอกสารแบบผสานที่คุณต้องการสร้าง หลังจากที่เลือกเอกสารแล้ว ให้คลิก ถัดไป ที่ด้านล่างของบานหน้าต่างงาน
หมายเหตุ หากคุณตั้งให้เครื่องคอมพิวเตอร์สนับสนุนแฟกซ์ และติดตั้งแฟกซ์โมเด็มไว้ในเครื่อง คุณยังจะเห็นคำว่า แฟกซ์ ในรายการประเภทของเอกสาร
เลือกเอกสารหลักที่คุณต้องการใช้
หากเอกสารหลักของคุณ (หรือที่เรียกว่า เอกสารเริ่มต้น ในบานหน้าต่างงาน) เปิดอยู่แล้ว หรือคุณกำลังเริ่มต้น ทำงานกับเอกสารเปล่า คุณสามารถคลิกที่คำว่า Use the current document
จดหมายเวียน ขั้นที่ 2: เชื่อมต่อเข้ากับแฟ้มข้อมูลและเลือกระเบียน
หากต้องการผสานข้อมูลเฉพาะลงในเอกสารหลัก คุณต้อง เชื่อมต่อกับ (หรือสร้างและเชื่อมต่อกับ) แฟ้มข้อมูลที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเฉพาะนั้น หากคุณไม่ต้องการใช้ข้อมูลทั้งหมดในแฟ้มเพื่อทำการผสาน คุณสามารถ เลือก ระเบียนที่คุณต้องการใช้
เชื่อมต่อกับแฟ้มข้อมูล
ในขั้นตอนนี้ของกระบวนการจดหมายเวียน คุณได้เชื่อมต่อกับแฟ้มข้อมูล ซึ่งเป็นที่ ๆ จัดเก็บข้อมูลเฉพาะที่คุณต้องการผสานเข้ากับเอกสารของคุณ
หากคุณเก็บข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และเป็นข้อมูลปัจจุบันไว้ในรายการที่ติดต่อบนโปรแกรม Microsoft Office Outlook® นี่จะเป็นแฟ้มข้อมูลชั้นเยี่ยมที่จะนำมาใช้สำหรับการจัดทำจดหมายถึงลูกค้า หรืออีเมล เพียงคลิกที่คำว่า Select from Outlook contacts ในบานหน้าต่างงาน และเลือกโฟลเดอร์ ที่ติดต่อของคุณ
หากคุณมีแผ่นงานของโปรแกรม Microsoft Office Excel หรือฐานข้อมูลของ Microsoft Office ที่ภายในประกอบด้วยข้อมูลลูกค้า ให้คลิกที่คำว่า Use an existing list และคลิก Browse เพื่อค้นหาตำแหน่งของแฟ้ม
หากคุณยังไม่มีแฟ้มข้อมูล ให้คลิกที่คำว่า Type a new list และใช้ฟอร์มที่เปิดอยู่ เพื่อสร้างรายการของคุณ รายการจะถูกบันทึกไว้ในรูปของแฟ้มฐานข้อมูลจดหมาย (.mdb) ที่คุณสามารถนำมาใช้อีกครั้ง
หมายเหตุ หากคุณกำลังสร้างอีเมลหรือแฟกซ์แบบผสาน ดูให้แน่ใจว่า แฟ้มข้อมูลของคุณได้รวมคอลัมน์สำหรับที่อยู่อีเมลหรือหมายเลขแฟกซ์เอาไว้แล้ว คุณจำเป็นต้องใช้คอลัมน์นั้นภายหลังในกระบวนการจดหมายเวียน
เลือกระเบียนในแฟ้มข้อมูลที่คุณต้องการใช้
เพียงแค่เพราะคุณเชื่อมต่อเข้ากับแฟ้มข้อมูลเฉพาะ ย่อมไม่ได้หมายความว่า คุณต้องผสานข้อมูลจากระเบียนทั้งหมด (แถว) ในแฟ้มข้อมูลนั้นลงในเอกสารหลักของคุณ
หลังจากคุณเชื่อมต่อกับแฟ้มข้อมูลที่คุณต้องการใช้ หรือสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ กล่องโต้ตอบ Mail Merge Recipients จะเปิดออก คุณสามารถเลือกเซ็ตย่อยของระเบียนสำหรับจดหมายเวียนของคุณได้ด้วยการเรียงลำดับหรือกรองรายการ
ทำหนึ่งอย่างต่อไปนี้:
หากต้องการเรียงลำดับระเบียนในคอลัมน์จากน้อยไปหามาก หรือจากมากไปหาน้อย ให้คลิกที่หัวเรื่องของคอลัมน์
หากต้องการกรองรายการ ให้คลิกลูกศรที่อยู่ติดกับหัวเรื่องของคอลัมน์ ที่ประกอบด้วยค่าที่คุณต้องการกรอง หลังจากนั้น ให้คลิกที่ค่าที่คุณต้องการ หรือถ้ารายการของคุณยาวมาก ให้คลิก (Advanced) เพื่อเปิดกล่องโต้ตอบที่ ๆ คุณสามารถกำหนดค่า คลิก (Blanks) เพื่อแสดงผลเฉพาะระเบียนที่ไม่มีข้อมูลใดอยู่ หรือ (Nonblanks) เพื่อแสดงผลเฉพาะระเบียนที่มีข้อมูลอยู่ภายใน
ลูกเล่น
หลังจากคุณได้กรองรายการแล้ว คุณสามารถแสดงผลระเบียนทั้งหมดอีกครั้งได้ด้วยการคลิกลูกศร และคลิกที่คำว่า (All)
ลบเครื่องหมายที่อยู่ในกล่องกาเครื่องหมายถัดจากระเบียน เพื่อยกเว้นระเบียนนั้น
ใช้ปุ่มเพื่อเลือกหรือยกเว้นระเบียนทั้งหมดหรือเพื่อค้นหาระเบียนเฉพาะ
ลูกเล่น
หากคุณสร้างแฟ้มข้อมูล ที่จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจดหมายเวียน ปุ่ม Edit จะทำงานในกล่องโต้ตอบนี้ คุณสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลในระเบียนได้หากคุณต้องการปรับปรุงแฟ้ม
หลังจากคุณเลือกระเบียนที่คุณต้องการแล้ว คุณก็พร้อมที่จะเข้าสู่ขั้นตอนต่อไป
จดหมายเวียน ขั้นที่ 3: เพิ่มเขตข้อมูลลงไปในเอกสารหลัก
หลังจากคุณเชื่อมต่อเอกสารหลักเข้ากับแฟ้มข้อมูลแล้ว คุณก็พร้อมที่จะ เพิ่มเขตข้อมูล ที่เป็นตัวระบุว่าข้อมูลเฉพาะจะไปปรากฏที่ตำแหน่งใดในแต่ละสำเนาของเอกสารที่คุณสร้างขึ้นเมื่อทำการผสานเอกสาร หากต้องการให้แน่ใจว่า โปรแกรม Word จะพบคอลัมน์ในแฟ้มข้อมูลของคุณที่ตรงกับที่อยู่ทั้งหมดหรือข้อความต้อนรับ คุณอาจจำเป็นต้อง จับคู่เขตข้อมูล
เพิ่มเขตข้อมูล
หากเอกสารหลักของคุณยังเป็นเอกสารเปล่า ให้พิมพ์ข้อมูลที่จะปรากฏในสำเนาแต่ละสำเนาลงไป หลังจากนั้น ให้เพิ่มเขตข้อมูลด้วยการคลิกการเชื่อมโยงหลายมิติในบานหน้าต่างงาน
เขตข้อมูลคือ ตัวจับพื้นที่ (placeholders) ที่คุณแทรกลงในเอกสารหลัก ณ ตำแหน่งที่คุณต้องการให้ข้อมูลเฉพาะปรากฏ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถคลิกที่การเชื่อมโยง Address block หรือ Greeting line ในบานหน้าต่างงานเพื่อเพิ่มเขตข้อมูลไว้ใกล้ ๆ กับด้านบนสุดของจดหมายประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้จดหมายที่ส่งถึงผู้รับแต่ละคน มีข้อมูลที่อยู่และคำต้อนรับที่กำหนดขึ้นเอง เขตข้อมูลจะปรากฏในเอกสารของคุณภายในเครื่องหมายรูปตัววี ตัวอย่างเช่น «AddressBlock»
หากคุณคลิกที่คำว่า More items ในบานหน้าต่างงาน คุณจะสามารถเพิ่มเขตข้อมูลที่ตรงกับคอลัมน์ใด ๆ ในแฟ้มข้อมูลของคุณลงไป ตัวอย่างเช่น แฟ้มข้อมูลอาจรวมคอลัมน์ที่ชื่อ Personal Note เอาไว้ด้วย เมื่อเพิ่มเขตข้อมูล Personal_Note ไว้ที่ตอนท้ายของจดหมายแบบฟอร์ม คุณจะสามารถเลือกกำหนดสำเนาแต่ละสำเนาได้ด้วยตัวเอง และทำได้แม้กระทั่งกำหนดซองจดหมาย ด้วยการเพิ่มบาร์โค้ตไปรษณีย์— หากคุณใช้โปรแกรม Word รุ่นภาษาอังกฤษ (อเมริกัน)— หรือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิก (หากคุณติดตั้งโปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกไว้ในเครื่อง)
จับคู่เขตข้อมูล
หากคุณแทรกเขตข้อมูลที่อยู่ หรือเขตข้อมูลสำหรับบรรทัดคำต้อนรับลงในเอกสาร ระบบจะขอให้คุณเลือกรูปแบบที่คุณต้องการนำมาใช้ ตัวอย่างเช่น ภาพประกอบต่อไปนี้แสดงภาพกล่องโต้ตอบ Greeting Line ที่เปิดออกเมื่อคุณคลิกที่คำว่า Greeting line ในบานหน้าต่างงาน คุณใช้รายการใต้คำว่า Greeting line format เพื่อเลือกสิ่งที่คุณต้องการ
องค์ประกอบของที่อยู่และข้อความต้อนรับจะปรากฏทางด้านซ้าย หัวเรื่องของคอลัมน์จากแฟ้มข้อมูลของคุณจะปรากฏทางด้านขวา
โปรแกรม Word ค้นหาคอลัมน์ที่ตรงกับองค์ประกอบแต่ละองค์ประกอบ ในภาพประกอบข้างต้น คุณจะเห็นว่า โปรแกรม Word ได้จับคู่คอลัมน์นามสกุล ของแฟ้มข้อมูล เข้ากับนามสกุล ให้โดยอัตโนมัติ แต่โปรแกรม Word จะไม่สามารถจับคู่องค์ประกอบอื่น เช่น จากแฟ้มข้อมูลนี้ โปรแกรม Word จะไม่สามารถจับคู่ ชื่อ หรือ ที่อยู่ 1
เมื่อใช้รายการทางด้านขวา คุณสามารถเลือกคอลัมน์จากแฟ้มข้อมูลที่ตรงกับองค์ประกอบทางด้านซ้าย ในภาพประกอบนี้ คอลัมน์ ชื่อ ได้จับคู่กับ ชื่อ แล้ว และคอลัมน์ ที่อยู่ ตรงกับ ที่อยู่ 1 สิ่งนี้เป็นไปได้หาก Courtesy Title, บริษัท และ ชื่อคู่สมรส ไม่ถูกจับคู่ เนื่องจากคอลัมน์เหล่านี้ไม่สัมพันธ์กับในเอกสารที่คุณกำลังสร้าง
จดหมายเวียน ขั้นที่ 4: แสดงตัวอย่างจดหมายเวียนและดำเนินการให้เสร็จสมบูรณ์
หลังจากเพิ่มเขตข้อมูลลงในเอกสารหลักแล้ว คุณก็พร้อมที่จะ แสดงตัวอย่าง เอกสารที่เกิดจากการผสาน เมื่อคุณพอใจกับภาพแสดงตัวอย่างที่เห็น คุณสามารถดำเนินการ ผสาน ให้เสร็จสมบูรณ์
ภาพแสดงตัวอย่างการผสาน
คุณสามารถแสดงตัวอย่างเอกสารที่ผสานแล้วของคุณ และทำการเปลี่ยนแปลงก่อนสิ้นสุดกระบวนการผสานเอกสาร
เลื่อนดูเอกสารที่ผสานแต่ละเอกสารด้วยการใช้ปุ่มถัดไปและก่อนหน้าในบานหน้าต่างงาน
แสดงตัวอย่างเอกสารใดเอกสารหนึ่งได้ด้วยการคลิกที่คำว่า Find a recipient
คลิกที่คำว่า Exclude this recipient หากคุณตระหนักว่า คุณไม่ต้องการรวมระเบียนที่คุณดูอยู่
คลิก Edit recipient list เพื่อเปิดกล่องโต้ตอบ Mail Merge Recipients ที่ ๆ คุณสามารถกรองรายการหากคุณเห็นระเบียนที่คุณไม่ต้องการรวม
คลิก Previous ที่ด้านล่างของบานหน้าต่างงาน เพื่อย้อนกลับไปหนึ่งหรือสองขั้นตอน หากคุณต้องการทำการเปลี่ยนแปลงอย่างอื่น
เมื่อคุณพอใจกับเอกสารที่ผสานแล้ว ให้คลิก Next ที่ด้านล่างของบานหน้าต่างงาน
ทำการผสานให้เสร็จสมบูรณ์
สิ่งที่คุณจะทำต่อจากนี้ จะขึ้นอยู่กับประเภทของเอกสารที่คุณกำลังสร้าง หากคุณกำลังผสานจดหมาย คุณสามารถสั่งพิมพ์จดหมาย หรือแก้ไขจดหมายเหล่านั้น หากคุณเลือกแก้ไขจดหมาย โปรแกรม Word จะบันทึกจดหมายนั้นไว้ในแฟ้มหนึ่ง โดยแต่ละหน้าในเอกสารจะประกอบด้วยจดหมายหนึ่งฉบับ
ไม่ว่าคุณกำลังสร้างเอกสารประเภทใด คุณสามารถพิมพ์ ส่ง หรือบันทึกเอกสารทั้หมดหรือเฉพาะเซ็ตย่อยของเอกสาร
ลูกเล่นเกี่ยวกับอีเมล
หากคุณกำลังสร้างอีเมลผสาน โปรแกรม Word จะส่งข้อความทันทีหลังจากคุณทำการผสานเสร็จ ดังนั้น หลังจากเลือกข้อความที่ต้องการส่งถึงผู้รับแล้ว ระบบจะขอให้คุณระบุว่าคอลัมน์ใดในแฟ้มข้อมูลของคุณที่โปรแกรม Word จะพบอีเมลสำหรับผู้รับ ระบบยังจะขอให้คุณพิมพ์ชื่อเรื่องลงในบรรทัดเรื่องสำหรับข้อความนั้นด้วย
โปรดจำไว้ว่า เอกสารผสานที่คุณบันทึก นั้นเป็นเอกสารอีกชุดหนึ่งแยกจากเอกสารหลัก คุณควรบันทึกเอกสารหลักไว้หากคุณวางแผนใช้เอกสารนี้สำหรับการผสานจดหมายอื่น
เมื่อคุณบันทึกเอกสารหลัก นอกเหนือจากการบันทึกเนื้อหาและเขตข้อมูลของเอกสารนั้น คุณยังได้บันทึกการเชื่อมต่อของเอกสารเข้ากับแฟ้มข้อมูล เมื่อคุณเปิดเอกสารหลักในครั้งต่อไป ระบบจะขอให้คุณเลือกว่า คุณต้องการให้มีการรวมข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลเข้ากับเอกสารหลักอีกครั้งหรือไม่
หากคุณคลิก Yes เอกสารจะเปิดออกพร้อมกับข้อมูลจากระเบียนแรกที่ผสานไว้ หากคุณเปิดบานหน้าต่างงาน (เมนู Tools เมนูย่อย Letters and Mailings คำสั่ง Mail Merge) แสดงว่า คุณอยู่ที่ขั้นตอน Select recipients คุณสามารถคลิกที่ การเชื่อมโยงหลายมิติในบานหน้าต่างงานเพื่อแก้ไขแฟ้มข้อมูล เพื่อรวมระเบียนชุดอื่น หรือเพื่อเชื่อมต่อเข้ากับแฟ้มข้อมูลอื่น หลังจากนั้น คุณสามารถคลิกที่คำว่า Next ที่ด้านล่างของบานหน้าต่างงาน เพื่อทำการผสานในขั้นตอนต่อไป
หากคุณคลิก No การเชื่อมต่อระหว่างเอกสารหลัก และแฟ้มข้อมูลจะนำมาใช้ไม่ได้ เอกสารหลักจะกลายเป็นเอกสาร Word มาตรฐาน เขตข้อมูลจะถูกแทนที่ด้วยข้อมูลเฉพาะที่มาจากระเบียนแรก
วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551
***** ประวัติส่วนตัวจ้า *****
ชื่อเรียกขำ ๆ : นินจา
วันที่มองดูหน้าแม่ : 9 พฤศจิกายน 2524
มีปัญหาปรึกษาที่ : 086-539-7484
สีที่ชอบ : สีขาว สีดำ สีเทา
อาหารโปรด : ต้มยำกุ้ง ปลาหมึก(น้ำข้นนะจ๊ะ)
เวลาว่าง : ปลูกต้นไม้ เลี้ยงปลา แมว
การสร้าง Blog ด้วย Blogger
เมื่อคลิกที่สร้างบล็อกเสร็จก็จะเข้ามาการตั้งชื่อ เว็บบล็อก ซึ่งเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดโดยที่ในส่วนนี้จะให้เรา กรอกชื่อเว็บไซด์ และ Blog Address(URL) ซึ่งเป็นส่วนที่จะกำหนดอนาคตของเวบไซด์ของเราได้เลยที่เดียว สำหรับชื่อเว็บไซด์นั้นให้เราเลือกใช้คำที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่อยู่ในเว็บบล็อกของเรา ตัวอย่างเช่น เราต้องการทำบล็อกเกี่ยวกับ PowerPointเราก็อาจจะเลือกคำ เช่น PowerPoint Presentation หรือ Thai PowerPoint มาใช้เป็นชื่อบล็อก เป็นต้น นอกจากนี้เรายังสามารถใช้ได้ทั้ง ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ โดยใช้สัญลักษณ์" " คั่นกลาง เช่น "PowerPoint Presentationการนำเสนอด้วยพาวเวอร์พ้อยท์" เป็นต้นและที่สำคัญก็คือ ชื่อเว็บของเราจะมีผลโดยตรงต่อการค้นหาด้วย search engine ซึ่งถ้าเราเลือกใช้คำไม่เหมาะสม ก็อาจจะไม่มีใครเข้ามาดู เว็บบล็อกของเราเลยก็เป็นไดดังนั้นก็ขอให้เราเลือกใช้คำที่เหมาะสมซึ่งมีวิธีการค้นหาคำที่น่าสนใจอยู่หลายวิธี สามารถเข้าไปศึกษาได้ที่หัวข้อ ++เตรียมพร้อมก่อนการเป็น Publisher กับ Bidvertiser++++TIP: ชื่อเว็บบล็อกสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาตามที่เราต้องการ++++TIP: ชื่อของเว็บบล็อกจะปรากฎที่ด้านบนบริเวณ Title Bar ของ Browser เมื่อเปิดเข้าสู่เว็บบล็อก++
และอีกส่วนที่มีความสำคัญก็คือ Blog Address หรือ ที่อยู่ที่ใช้ในการเปิดเว็บบล็อกนั่นเองซึ่งสำหรับ Blogger ชื่อ Address จะเป็น http://xxxxxx.bogspot.com/โดยในส่วนนี้เราจำเป็นต้องตรวจสอบหาชื่อที่ไม่ซ้ำกับคนอื่น ซึ่งสามารถตรวจสอบได้โดยคลิกที่คำว่า"ตรวจสอบความพร้อมการใช้งาน" ซึ่งถ้าชื่อที่เราตั้งยังไม่มีคนใช้ก็จะึ้นคำว่า " ที่อยู่บล็อกนี้สามารถใช้งานได้" ปรากฎอยู่ที่ด้านล่าง นั่นแสดงว่าเราสามารถใช้ชื่อนี้ได้เลย และที่หน้าเว็บของการตั้งชื่อ เว็บบล็อกนี่เอง ซึ่งเราอาจจำเป็นต้องใช้คำที่ไม่ใช้คำยอดนิยมเพราะคำเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีคนใช้อยู่ก่อนแล้วก็ลองเลือกดูคำที่ใกล้เคียงและมี Keyword ที่เกี่ยวข้องกับบล็อกของเราก็ได้ ซึ่งเรื่องการค้นหา Keyword ที่เป็นที่นิยมนั้น ก็สามารถเข้าไปศึกษาได้ที่หัวข้อ++เตรียมพร้อมก่อนการเป็น Publisher กับ Bidvertiser++ เช่นกัน
หลังจากที่เราลงทะเบียนตั้งชื่อเว็บบล็อกเรียบร้อยแล้ว คลิกที่ "ทำต่อ"เราก็จะเข้าสู่หน้าเว็บที่ใช้เลือกเทมเพลทหรือ เลือกแม่แบบของเว็บบล้อกของเรานั่นเอง ตามภาพด้านล่างเมื่อคลิกเลือกแม่แบบเสร็จก็ คลิกคำว่า"ทำต่อ" ก็จะเข้าสู่หน้าสร้างบทความใหม่ตามรูปด้านล่าง
ในครั้งแรกที่เข้ามาในหน้าสร้างบทความใหม่ เราอาจยังไม่มีหรือไม่ต้องการสร้างบทความในตอนน ก็ให้เราคลิกที่คำว่า "ดูบล็อก "เพื่อเข้าไปที่หน้า บล็อกของเราได้เลย
เมื่อคลิกที่คำว่า ดูบล็อก แล้วก็จะเข้ามาที่หน้าบล็อกซึ่งยังไม่มีข้อมูลอะไรโดยเราสามารถเพิ่มบทความใหม่ แลั ปรับแต่งตั้งค่าบล็อกได้ โดยคลิกที่"บทความใหม่" หรือ คำว่า "ปรับแต่ง" ที่อยู่มุมบนขวาของหน้า แล้วก็ทำการตั้งค่า ต่างๆได้ตามความพอใจ